Share

Livio AI ได้รับการจัดอันดับ TIME Best Invention

Last updated: 5 Apr 2024
45 Views
Livio AI ได้รับการจัดอันดับ TIME Best Invention

 


No wonder Livio AI was named a TIME Best Invention

By Starkey Hearing on Jan 14, 2020

ไม่แปลกใจเลยว่าทำไมเครื่องช่วยฟังรุ่น Starkey Livio AI  ถึงได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในนวัตกรรมที่ดีที่สุด  ที่ได้รับการจัดอันดับโดย Time Magazine


      เครื่องช่วยฟังรุ่นใหม่ล่าสุดในชื่อ Livio AI จากบริษัท Starkey Hearing Technologies  ได้ตอบโจทย์การฟังในยุคปัจจุบันได้อย่างสมบูรณ์แบบ  ซึ่งไม่เพียงแต่ช่วยขยายเสียงและลดเสียงรบกวนในสิ่งแวดล้อมเท่านั้น  เครื่องช่วยฟังรุ่น Livio AI  ยังมีระบบเซ็นเซอร์ในตัวและระบบเรียนรู้อันชาญฉลาด (artificial intelligence)  ที่ช่วยให้การเชื่อมต่อเครื่องช่วยฟังกับอุปกรณ์สื่อสารแบบไร้สายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและง่ายดาย  ไม่ว่าจะเป็นการสตรีมมิ่งเสียงดนตรี  การตั้งคำถามกับตัวช่วยอัจฉริยะ  ตัวช่วยแปลภาษา  ระบตรวจจับและแจ้งเตือนการเกิดอุบัติเหตหกล้ม  การติดตามกิจกรรมทางร่างกายและสุขภาพ  การติดตามการมีส่วนร่วมของคุณทางสังคม เช่น คุณพูดคุยกับบุคคลรอบข้างบ่อยมากเพียงใดในแต่ละวัน  และจากการเปิดตัวเทคโนโลยีตั้งปลายปี 2561  ถือได้ว่า  "เป็นอุปกรณ์ที่ขายดีที่สุดของเรา"  เอชิน โบมิก หัวหน้าแผนกเทคโนโลยีของบริษัทสตาร์กี้กล่าว  นอกจากนี้เขายังใส่เครื่องช่วยฟังรุ่นนี้ถึงแม้ว่าเขาจะไม่ได้สูญเสียการได้ยิน  และยังกล่าวอีกว่า "มันดีกว่าการได้ยินปกติมาก"  

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ผู้เชี่ยวชาญด้านการได้ยิน บริษัท ออดิเมด จำกัด ได้แล้ววันนี้

Related Content
หูดับฉับพลันอย่านิ่งนอนใจ
อาการประสาทหูเสื่อมชนิดเฉียบพลัน หรือ Sudden HearingLOรร จะมีช่วงเวลาวิกฤต (Golden hour) ที่ต้องมาพบแพทย์อย่างเร่งด่วนภายใน 24-48 ชั่วโมงแรกหรือเ ร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ หากได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม จะมีโอกาสที่จะกลับมาได้ยินเป็นปกติได้
เสียงในชีวิตประจำวัน
โดยทั่วไปแล้วเสียงที่เราได้ยิน กันในชีวิตประจำวัน จะมีความถี่อยู่ในช่วงระหว่าง 20-20,000 เฮิรตซ์ เสียงที่มีความถี่ต่ำกว่า 20 เฮิรตซ์ หรือสูงกว่า 20,000 เฮิรตซ์ มนุษย์เราจะไม่ได้ยิน แต่สัตว์บางชนิดจะได้ยิน เช่น สุนัข สามารถได้ยินที่ความถี่ 15-50,000 เฮิรตซ์ แมวสามารถได้ยินที่ความถี่ 60-65,000 เฮิรตซ์ เป็นต้น
เทคนิคการขับรถอย่างปลอดภัยเมื่อคุณมีปัญหาการได้ยิน
คุณใช้การได้ยินมากแค่ไหนในขณะขับรถ? บางทีอาจจะมากกว่าที่คุณคิด แม้ว่าสายตาจะเป็นประสาทสัมผัสที่สำคัญที่สุดเมื่อคุณได้นั่งลงที่หลังพวงมาลัย แต่คุณทราบหรือไม่ว่าการได้ยินช่วยให้คุณได้ยินเสียงสัญญาณต่างๆ เช่น ไซเรนรถพยาบาล แตรรถ และเสียงเตือนต่างๆ แม้ว่าการสูญเสียการได้ยินอาจจะไม่ได้ส่งผลกระทบมากต่อการขับรถของคุณ แต่การได้ยินมีประโยชน์ในเรื่องของการช่วยระมัดระวังต่างๆได้มากขึ้น
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว and นโยบายคุกกี้
Compare product
0/4
Remove all
Compare
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy